สามี ลา คลอด

เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เตรียมชงสิทธิ ชายไทยลาดูแลภรรยาหลังคลอด ครอบคลุมรัฐวิสาหกิจ และเอกชน หลังข้าราชการชายลาได้ 15 วัน เมื่อวานนี้ (3 ธันวาคม) นายสังคม คุณคณากรสกล ประธานบริษัทไทยทอปปิค จำกัด กล่าวในงานเสวนา "พ่อจ๋า... ลาคลอดมากอดหนู" จัดโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส. ) และบริษัท ไทยทอปปิค จำกัด ว่า ผลการสำรวจการรับรู้เกี่ยวกับสิทธิการลาหยุดของข้าราชชายเพื่อช่วยเหลือดูแลภรรยาที่คลอดบุตรติดต่อกันได้ครั้งละ 15 วัน ของประชาชนทั่วประเทศจำนวน 1, 473 คน พบว่า มีผู้รับรู้ถึงสิทธิดังกล่าวอย่างถูกต้อง 55. 6% ขณะมีผู้ที่รับรู้แต่ไม่เข้าใจ 14. 46% และผู้มีที่ไม่รู้ว่ามีสิทธินี้อยู่เลย จำนวน 29. 94% และผู้ที่อยู่ในเขตเมืองรับรู้น้อยกว่าผู้ที่อยู่ในเขตภูมิภาค เมื่อสำรวจถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของข้าราชการชายที่ใช้สิทธิลาคลอดตามภรรยาพบว่า ลาหยุดเพื่อไปดูแลบุตรและภรรยาจริง คิดเป็น 54. 72% ลาเพื่อการดูแลบุตร ภรรยาและการทำภารกิจอื่น ๆ คิดเป็น 34. 62% มีการใช้สิทธิดังกล่าวอย่างผิดวัตถุประสงค์ คิดเป็น 3. 53% และเมื่อถามถึงความต้องการให้ขยายสิทธิการลาคลอดตามภรรยาไปยังกลุ่มพนักงาน เอกชน รัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างกลุ่มอื่น ๆ พบว่า ฝ่ายหญิงไม่ต้องการให้ขยายสิทธิดังกล่าวเพิ่มเติมแล้ว ขณะที่ฝ่ายชายยังต้องการให้ขยายสิทธิให้ครอบคลุมกลุ่มบริษัทเอกชน 46.

พม. เล็งขยายสิทธิ สามีลาดูแลภรรยาคลอด ทั้งรัฐวิสาหกิจ-เอกชน

  1. Game pc โหด 18
  2. Blighted ovum อาการ to see
  3. ให้เพิ่มเป็น 45 วัน คุณพ่อลาคลอด รับเงินเดือนเต็ม - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  4. ครม.ไฟเขียว เพิ่มวันลาคลอด-รับค่าจ้าง 50% พ่อลาดูแลลูกได้ 15 วัน
  5. เธอขายสามีให้นาย 3 ล้าน - unfoldstory4you
  6. สมเด็จ ย้อน ยุค 108 ปี 2021

น้องแนท เผยการกระทำของอดีตสามี หลังหย่ากัน เล่นเอามูฟออนยาก - Monovichea

เธอขายสามีให้นาย 3 ล้าน - unfoldstory4you

ปัจจุบันหลายองค์กรระดับโลกให้ความสำคัญกับ Maternity Leave หรือ ลาคลอด มากขึ้น ล่าสุดรัฐบาลไทยตามกระแสดังกล่าวด้วยการเพิ่มวันลาคลอดให้ข้าราชการหญิงจาก 90 วัน เป็นรวม 188 วัน และยังได้เงินเดือน ลาคลอด นานขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิตมากขึ้น รายงานข่าวแจ้งว่า ในการประชุมคณะรัฐมนตรี หรือ ประชุม ครม. เมื่อวันที่ 11 ม. ค. 2565 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการมาตรการสนับสนุนสตรีให้เป็นพลังสำคัญทางเศรษฐกิจ (มาตรการสนับสนุนสตรีฯ) ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (พม. ) เสนอ ประกอบด้วยมาตรการย่อย จำนวน 3 มาตรการคือ จัดบริการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี โดยขยายบริการของศูนย์เด็กเล็ก/สถานรับเลี้ยงเด็ก ให้รับอายุ 0 – 3 ปี และขยายเวลาเปิด – ปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/สถานรับเลี้ยงเด็กให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนทำงาน ตามบริบทของพื้นที่ ส่งเสริมการลาของสามีเพื่อช่วยภรรยาดูแลบุตรหลังคลอด (Paternity Leave) โดยปรับแก้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ. ศ.

สามีลาคลอดได้กี่วัน

รัชดากล่าวกล่าวว่า ที่ประชุม ครม. เห็นชอบในหลักการเบื้องต้นของมาตรการและให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์รับข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปพิจารณาหาข้อสรุปที่ชัดเจน ก่อนเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและหน่วยงานกลางบริหารทรัพยากรบุคลในส่วนราชการต่าง ๆ ดำเนินการปรับแก้ระเบียบต่อไป

ส่งเสริมการลาของสามี ที่เป็นข้าราชการชาย ช่วยภรรยาดูแลบุตรหลังคลอด โดยให้มีสิทธิลาได้ 15 วันทำการ เป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกันจนครบวันลา จากเดิมที่ให้ลาครั้งหนึ่งติดต่อกันได้ ไม่เกิน 15 วันทำการ และ 3. ขยายวันลาคลอดของแม่ ที่เป็นข้าราชการหญิง ซึ่งระเบียบเดิมสามารถลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 90 วัน และหากประสงค์ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 150 วันทำการ โดยไม่ได้รับเงินเดือน แต่มาตรการใหม่สามารถลาคลอดบุตรได้ 98 วัน (เพิ่มขึ้นจากเดิม 8 วัน) โดยได้รับค่าจ้าง และสามารถลาเพิ่มได้อีกไม่เกิน 90 วัน โดยได้รับเงินเดือนร้อยละ 50 ของเงินเดือน รวมวันลาคลอดทั้งสิ้น 188 วัน หรือประมาณ 6 เดือน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางที่องค์การอนามัยโลกและกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติระบุว่า ควรให้บุตรได้รับนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด น. รัชดากล่าวว่า โดยประโยชน์ที่จะได้รับจากมาตรการนี้ คือ ขจัดการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงด้านการจ้างงาน ทำให้เกิดนโยบายที่มีลักษณะเป็นมิตรกับผู้หญิง สร้างความเท่าเทียมระหว่างเพศ และส่งเสริมให้สามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตร รวมถึงปรับเปลี่ยนจำนวนวันลาคลอดของข้าราชการให้เท่ากับภาคเอกชนและสนับสนุนนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตามเกณฑ์องค์การอนามัยโลกที่ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน ทั้งนี้ ครม.

ให้กระทรวง พม. รับข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปพิจารณาหาข้อสรุปที่ชัดเจน ก่อนเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและหน่วยงานกลางบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่างๆ ดำเนินการปรับแก้ระเบียบต่อไป เกาะติดทุกสถานการณ์จาก Line @Matichon ได้ที่นี่

""ฉันเป็นภรรยาของเขา ไม่ทราบว่าคุณมีธุระอะไรค่ะ? "