ประชากร ไทย 2561 / ประชากร ไทย 256 Go

ผู้บริหาร ครูอาจารย์ 2. หลักสูตรการเรียนการสอน การวัดผล และ 3.

จำนวนเกษตรกร มีเท่าไร ? พร้อมวิเคราะห์เชิงลึกเกษตรกรไทยทำอะไรกันบ้าง !

กรุงเทพ 5 มีนาคม พ. ศ. 2563 – รายงานฉบับล่าสุดของธนาคารโลกได้วิเคราะห์ความยากจนและแนวโน้มความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยจากสถิติอย่างเป็นทางการของภาครัฐ พบว่า ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการลดความยากจนตลอดช่วง 30 ปีที่ผ่านมา จากเมื่อปี 2531ที่มีสัดส่วนคนยากจนมากกว่าร้อยละ 65 เป็นต่ำกว่าร้อยละ 10 ในปี 2561 อย่างไรก็ตาม การเติบโตของรายได้ครัวเรือนและการบริโภคได้หยุดชะงักลงทั่วประเทศตลอดหลายปีที่ผ่านมาส่งผลให้ความก้าวหน้าในการลดความยากจนของประเทศไทยถดถอยลง พร้อมกับจำนวนประชากรยากจนที่เพิ่มขึ้น ระหว่างปี 2558- 2561 อัตราความยากจนของประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7. 2 เป็นร้อยละ 9. 8 อีกทั้ง จำนวนประชากรที่อยู่ในภาวะยากจนเพิ่มขึ้นจาก 4, 850, 000 คนเป็นมากกว่า 6, 700, 000 คน ความยากจนที่เพิ่มขึ้นในปี 2561 นี้กระจายตัวอยู่ทั่วทุกภูมิภาคใน 61 จังหวัดจาก 77 จังหวัดทั่วประเทศ ในช่วงเวลานี้ จำนวนประชากรที่ยากจนในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นกว่าครึ่งล้านคนในแต่ละภาค ในขณะที่ อัตราความยากจนในพื้นที่ขัดแย้งสามจังหวัดชายแดนใต้สูงที่สุดเป็นครั้งแรกในปี พ. 2560 รายงานฉบับนี้วิเคราะห์ว่าความยากจนที่เพิ่มขึ้นเร็ว ๆ นี้นั้น เกิดขึ้นพร้อมกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใหม่และเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจไทย ช่วงสองสามปีที่ผ่านมา เศรษฐกิจไทยมีอัตราการเติบโตต่ำกว่าประเทศกำลังพัฒนาที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีอัตราการเติบโตต่ำที่สุดในภูมิภาคนี้ คือ ร้อยละ 2.

  • ประชากรไทย 2562
  • อัตราความยากจนของประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นท่ามกลางเศรษฐกิจที่ชะลอตัว
  • ข้อมูลจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 จำแนกตามอายุและเขต - Open Government Data of Thailand

สภาวะการศึกษาไทยปี 2561

สงวนลิขสิทธิ์ พ. ศ. 2555 สำนักงานสถิติแห่งชาติ | นโยบายความมั่นคงปลอดภัย | นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทรศัพท์ 0 2142-1234 บริการข้อมูลโทร: 0 214-17500-03 อีเมล์:

ประชากรไทย 2564 แยกตามอายุ

บริการสถิติและสารสนเทศภาครัฐ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา 54 ที่รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ ประกอบกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ. ศ. 2561-2580) ที่มุ่งให้ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีการพัฒนาทุนมนุษย์ ให้มีศักยภาพในการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันและพัฒนาอย่างยั่งยืนในสาขาต่างๆ รวมถึงพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ที่ต้องยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง อีกทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ. 2560-2564 ที่กำหนดให้มีการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ที่คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.

6% ภาคเหนือ 22. 2% ภาคใต้ 17. 1% ภาคกลาง 14. 1% 5 จังหวัดเกษตรกรสูงสุด อุบลราชธานี 311, 630 ครัวเรือน นครราชสีมา 307, 510 ครัวเรือน ขอนแก่น 244, 060 ครัวเรือน ศรีสะเกษ 244, 002 ครัวเรือน ร้อยเอ็ด 235, 092 ครัวเรือน ภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีเกษตรกรน้อยที่สุด เพียง 9, 247ครัวเรือน สำหรับพื้นที่ถือครองการเกษตรในประเทศไทยในปี 2561 มี ประมาณ 112. 8 ล้านไร่ แบ่งเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 52. 4 ล้านไร่ ภาคเหนือ 26. 7 ล้านไร่ ภาคกลาง19. 1 ล้านไร่ ภาคใต้ 14. 6 ล้านไร่ ผู้ถือครองที่การเกษตร มีเนื้อที่ถือครองขนาด 10 – 39 ไร่ 50. 9% ต่ำกว่า 6 ไร่ 23. 6% มากกว่า 140 ไร่ ขึ้นไป 0. 7% อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ ที่ Website: / Facebook: marketeeronline อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Facebook: ติดตาม Marketeer Online ทาง Line@: @marketeer

5 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าบุคคลที่เกิดมาแล้วจะมีชีวิตต่อไปอีกกี่ปี) หญิง 80. 5 ปี 6 อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 60 ปี ชาย 17. 4 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่อายุ 60 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) หญิง 23. 2 ปี 7 อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 80 ปี ชาย 6. 1 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่อายุ 80 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) หญิง 8. 4 ปี 8 อัตราชีพ อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) 10. 2 อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน) 8. 3 อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร้อยละ) 0. 2 อัตราตายทารก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย) 6. 3 อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี (ต่อการเกิดมีชีพพันราย) 10. 6 9 อัตราเจริญพันธุ์รวม (จำนวนบุตรโดยเฉลี่ยที่สตรีคนหนึ่งจะมีตลอดวัยเจริญพันธุ์ของตน) 1. 51 10 อัตราคุมกำเนิด (ร้อยละ) 73. 0 11 ประชากรแฝงกลางคืน (ร้อยละ) 10. 2

ประชากร ไทย 2564
File Type: Sequential Field Name Separate By Description YYMM "|" ปีเดือนข้อมูล CC-CODE รหัสจังหวัด CC-DESC ชื่อจังหวัด RCODE-CODE รหัสสำนักทะเบียน RCODE-DESC ชื่อสำนักทะเบียน CCAATT-CODE รหัสตำบล CCAATT-DESC ชื่อตำบล CCAATTMM-CODE รหัสหมู่บ้าน CCAATTMM-DESC ชื่อหมู่บ้าน MALE จำนวนประชากรชาย FEMALE จำนวนประชากรหญิง TOTAL จำนวนประชากรทั้งหมด HOUSE จำนวนบ้าน (หลังคาเรือน) ติดต่อสอบถาม: 0-2791-7437, 0-2791-7441, 0-2791-7445