สรุป การ พัฒนา หลักสูตร

การกำหนดรู้แบบการประเมินผลและแนวทางในการปฏิบัติตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องคำนึงถึงการบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น รู้แบบการประเมินที่ดี คือ การที่ครูผู้สอนใช้เทคนิควิธีการหลายวิธีเหมาะกับผู้เรียน Stenhouse (1975: 4-5) ได้เสนอหลักการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 4 ประการ ดังนี้ 1. การเลือกเนื้อหา ( Selec tof cotent) เป็นการคัดเลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตร 2. การกำหนดยุทธวิธีการสอน ( Teaching strategy) เป็นการกำหนดว่าจะทำวิธีการสอนด้วยวิธีใดและมีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการใด 3. การเรียงลำดับเนื้อหา ( Make decisionse about seqence) เป็นการนำเนื้อหาที่กำหนดในหลักสูตร มาเรียงลำดับก่อนหลังอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ 4. การพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนรายบุคคลและหลักการที่กำหนดมาแล้ว ( Diagnose the strengths and weakness of individual students and general principles) ชูศรี สุวรรณโชติ ( 2542: 97-99) ได้หาแนวคิดกระบวนการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ ดังนี้ 1. การศึกษาปัญหาหรือกำหนดปัญหา เป็นขั้นแรกของการวางแผนเพื่อพัฒนาหลักสูตรซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรู้ถึงสภาพปัญหาและความต้องการของสังคมในทุกๆ ด้าน 2.

การพัฒนาหลักสูตร: สรุปพัฒนาการหลักของหลักสูตรการศึกษาไทย

ความสอดคล้องเชื่อมโยง การจัดหลักสูตรที่ดีควรคํานึงถึง ความสอดคล้องเชื่อมโยง (articulation) ให้มี ความต่อเนื่องกันของเนื้อหา ประสบการณ์การเรียนรู้ และทักษะที่อยู่ในระดับชั้นเดียวกัน ทั้งมิติ ในแนวตั้ งและแนวนอน ความสอดคล้องเชื่อมโยงในแนวนอน เช่น การจัดหลักสูตรสังคมศึกษา ชั้น ม. 1 ให้เนื้อหาภูมิศาสตร์ประเทศไทยมีความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยงกับเนื้อหา ประวัติศาสตร์ไทย เป็นต้น ส่วนความเชื่อมโยงในแนวตั้ง เช่น การจัดเนื้อหาเรื่องสิ่งมีชีวิตใน วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีความเชื่อมโยงต่อเนื่องไปยังเนื้อหาของวิทยาศาสตร์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นต้น 5. การบูรณาการ การบูรณาการ (integration) เป็นการจัดขอบข่ายเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ ในหลักสูตรให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงในแนวนอน จากหัวข้อหนึ่งไปยังอีกหัวข้อหนึ่งของ รายวิชานั้น หรือ จากรายวิชาหนึ่งไปยังอีกรายวิชาหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกัน สําหรับรายละเอียด เกี่ยวกับบูรณาการจะกล่าวถึงในบทที่ 6 ต่อไป 6.

สรุปการพัฒนาหลักสูตร

0" ดร.

ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยและต่างประเทศ | Curriculum Development

สรุป ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรพิจารณาได้จากข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรที่ถูกรวบรวมวิเคราะห์เชื่อมโยงเป็นชุดของจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่ใช้ในการวางแผนพัฒนาหลักสูตร และนำไปออกแบบหลักสูตร โดยการอธิบายเหตุผลการได้มาของสาระความรู้ในหลักสูตร ที่มีเหตุผลประกอบหลักวิชาโดยอาศัยทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ และนักพัฒนาหลักสูตรนำมากำหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน กำหนดสาระเนื้อหาและผลการเรียนรู้ ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้สามารถเป็นแนวทางช่วยให้อธิบายแนวโน้มของหลักสูตรได้

การจัดทำหลักสูตร | parkpoom

สรุปองค์ความรู้ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร

สรุปองค์ความรู้ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร

จึงได้ปรับเปลี่ยนหลักสูตรเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการนำไปสู่การปฏิบัติแต่ยังคงยึดมาตรฐานการเรียนรู้และหลักการเดิม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. 2551 เปลี่ยนแปลงมาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. 2544 ซึ่งกําหนดจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตดี มีความสามารถแข่งขันในเวทีโลก ให้สถานศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตร: สรุป

  • ไมโครซอฟท์สร้างทักษะดิจิทัลแก่แรงงานไทยทะลุเป้า 280,000 คน ในปี 2564 ผ่าน | RYT9
  • ราคา hyundai sonata
  • Hop inn พัทยา ใต้ 1

พื้นฐานจากวิชาการความรู้ต่างๆ ( Disciplines of knowledge foundations) ความรู้ของวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งความรู้ทางอาชีพ เป็นรากฐานของการเรียนรู้ของผู้เรียน การสร้างหลักสูตรจึงต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ ( Concept) และวิธีการของวิชานั้นๆ นักวิทยาการด้านหลักสูตรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายรูปแบบแตกต่างกัน ซึ่งรูปแยกการพัฒนาหลักสูตรแต่ละรูปแบบ ไม่ว่าเป็นการพัฒนาหลักสูตรใหม่หรือการนำหลักสูตรเก่ามาพัฒนา ประกอบด้วยขั้นตอนที่คล้ายคลึงกันพอสรุปเป็นขั้นตอน (ยุทธนา ปฐมวรชาติ. 2545: 15-18; Saylor and Aleylor and Alexander. 1974: 6) ดังนี้ การออกแบบและการสร้างหลักสูตร (การกำหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร การจัดทำรายละเอียดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ การกำหนดแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้กำหนดเวลา (การนำหลักสูตรไปใช้และการประเมินหลักสูตร Tyler (1949: 1) ได้กำหนดกระบวนการวางแผนหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บังเกิดผลดีต่อผู้เรียน โดยเสนอแนะว่าสิ่งที่ต้องคำนึงในการวางแผนหลักสูตร อะไรคือจุดมุ่งหมายของการศึกษาที่ต้องการให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาปฏิบัติ?