การ ย ศาสตร์ คือ อะไร

ความสำคัญของการยศาสตร์ (Ergonomics) Post on 10 มกราคม 2562 by Osh3 ฮิต: 10627 ความสำคัญของการยศาสตร์ ( Ergonomics) การยศาสตร์ คืออะไร?

การยศาสตร์ คืออะไร

การยศาสตร์ ถือเป็นการศึกษาสภาพการทำงานที่มีความเกี่ยวพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม เพื่อจะได้ทราบว่าการออกแบบมีความเหมาะสมหรือไม่ ในบทความนี้ทางพีดีเอสจะพาทุกคนไปรู้วิธีการป้องกัน เพื่อควบคุมปัญหาการยศาสตร์ ลองเข้าไปชมกันครับ ปัญหาด้านการยศาสตร์ 1. เกิดการเมื่อยล้าของดวงตา ซึ่งอาจจะเกิดจากแสงสว่างไม่เพียงพอในการทำงาน 2. เกิดอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บ ซึ่งอาจเกิดจากการวางเครื่องมือไม่เหมาะสม 3. เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ซึ่งเกิดจากการทำงานที่ไม่ระมัดระวัง 4. ปัญหาการไหลเวียนของกระแสโลหิต เนื่องจากเกิดจากการบีบรัดหรือแรงกด การป้องกันและควบคุมปัญหาการยศาสตร์ 1. อุปกรณ์และปุ่มควบคุมแผงวงจร ควรอยู่ในระดับความสูงระหว่างไหล่และเอว 2. การหาเก้าอี้นั่งที่ดี เหมาะสำหรับการเปลี่ยนอิริยาบถท่าทางที่สะดวกสบาย มีพนักพิงหลังที่รองรับหลังส่วนล่าง การมีฐานที่มั่นคงแข็งแรง มีกลไกที่สามารถปรับระดับได้ง่าย 3. งานสำหรับการยืนปฏิบัติงาน การยืนเป็นระยะเวลานาน ย่อมจะทำให้ขาบวม การไกลเวียนของโลหิตไม่สะดวก ควรจัดเนื้อที่ให้ว่างพอสำหรับขาและเข่า 4. การสวมใส่อุปกรณ์เซฟตี้ให้เหมาะสม สวมใส่สบาย ไม่คับเกินไป 5.

นั่งสบายกว่า ช่วยกระจายแรงกดทับของน้ำหนักตัวบริเวณกระดูกก้นกบ ทำให้รู้สึกสบายขณะที่เรานั่งและทำให้ได้ท่านั่งที่ถูกต้อง ขอขอบคุณข้อมูลจาก บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จํากัด (มหาชน). ผลวิจัย คนออฟฟิตปวดคอ ปวดไหล่มากที่สุด สํานักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปผลที่สําคัญการสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากร พ. ศ. 2554 หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. ปวดหลังจากการนั่งทํางานในออฟฟิต

อลัน เฮดจ์ (Alan Hedge) ผู้เชี่ยวชาญด้านการยศาสตร์ของ Cornell University สหรัฐอเมริกา ได้อธิบายว่า การยศาสตร์ คือ ศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการออกแบบเครื่องจักร ผลิตภัณฑ์และระบบ เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัย ความสบาย และประสิทธิภาพ ของผู้ใช้เครื่องจักรเหล่านั้น ดร. แมตส์ แฮกเบิร์ก และคณะ (Mats Hagberg et al. ) อธิบายว่า การยศาสตร์เป็นศาสตร์ เพื่อใช้ในการปรับระบบ หรือสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะสมกับบุคคล มิใช่การปรับบุคคลให้เข้ากับระบบหรือสิ่งแวดล้อม คาร์ล โครเมอร์ และคณะ (Karl Kroemer et al. )

6.1 ความสำคัญและองค์ประกอบของการยศาสตร์ - อาชีวะอนามัยและความปลอดภัย

การยศาสตร์ด้านความรู้ความเข้าใจ การยศาสตร์ประเภทนี้แตกต่างจากก่อนหน้านี้มากโดยมุ่งเน้นไปที่ผลกระทบและการปรับตำแหน่งหรือผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับความสามารถทางจิตวิทยาและความต้องการของผู้ทดลอง เรากำลังพูดถึงด้านต่างๆเช่น การจัดการความเครียดและการมีอุปกรณ์หรือบริการเพื่อลดภาระงาน, การรักษาผลกระทบทางอารมณ์ของบางตำแหน่ง (เช่นศัลยแพทย์ของตัวอย่างเริ่มต้น) หรือปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัสดุกับความสามารถในการรับรู้ของผู้รับการทดลอง 3. การยศาสตร์ขององค์กร ในกรณีนี้เรากำลังจัดการกับการยศาสตร์ประเภทหนึ่งที่ไม่ได้มุ่งเน้นไปที่ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งเรื่องงาน แต่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของหัวเรื่องกับสถาบัน ในแง่นี้กิจกรรมที่ดำเนินการโดยแต่ละกิจกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคลหรือการสื่อสารภายในของ บริษัท จะได้รับการวิเคราะห์ 4. การยศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสำหรับการประเมินและการจัดสรรพื้นที่โดยจะประเมินองค์ประกอบต่างๆเช่นเสียงรบกวนหรือระดับของแสงหรืออุณหภูมิที่อาจส่งผลต่อตัวแบบ

  • จูล่งฝ่าทัพรับอาเต๊า – สามก๊กวิกิ
  • ERGONOMIC CHAIR ? เก้าอี้เพื่อสุขภาพ คืออะไร - harachairthailand
  • ประโยชน์ของการยศาสตร์ - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

ศาสตร์ คืออะไร - GotoKnow

ความรู้ในการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ. นนทบุรี: โอ-วิทย์ (ประเทศไทย); ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์. Donagi A, Aladjem A. Systematization of occupational hazards by occupation. In: Stellman JM, editor. ILO Encyclopaedia of occupational health and safety. 4 th ed. Vol. IV (Chapter 103). Geneva: International Labour Organization; 1998.

การยศาสตร์: มันคืออะไรและมีอะไรบ้าง 4 ประเภทและหน้าที่ - จิตวิทยา เนื้อหา: การยศาสตร์คืออะไร? การประยุกต์ใช้ในที่ทำงาน ในบริบทอื่น ๆ ประเภทของการยศาสตร์ 1. การยศาสตร์ทางกายภาพ 2. การยศาสตร์ด้านความรู้ความเข้าใจ 3. การยศาสตร์ขององค์กร 4.

ความสำคัญและขอบเขตของการยศาสตร์ 1. ความสำคัญ การยศาสตร์เป็นการจัดสภาวะแวดล้อมในการทำงาน ตลอดจนการปฏิสัมพันธ์ระห่างคนกับเครีองมือ มีอะไรบ้างที่เรารู้ เกี่ยวกับร่างกาย และจิตใจมนุษย์ขณะทำงาน? "จากความรู้ดังกล่าว เราควรออกแบบงาน เครื่องมือ สถานที่ทำงานให้มนุษย์ได้ทำงาน อย่างปลอดภัย มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีความพอใจ และมีความสุขในการทำงาน" (Kroemer, 1993) ส่วนประกอบในการทำงาน ประกอบด้วย 1. มนุษย์ 2. Interaction ในการทำงาน เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องจักร เป็นต้น 3. สภาวะแวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ แสง สี เสียง ซึ่งหลักทางการยศาสตร์ เป็นการพยายามปรับงาน ให้เข้ากับคน คือ ปรับงานให้ทุกคนทำได้ และในท้ายสุด คือ การปรับคนให้เข้ากับงาน ตัวอย่างเช่น การคัดเลือกคนเข้าทำงาน เป็นแอร์โฮสเตส ต้องดูรูปร่างประกอบ ถ้าอ้วนไป การทำงานบนเครื่องบินอาจไม่คล่องตัว เป็นต้น หลักการทำงานทางการยศาสตร์นั้น เรามักคำนึงถึงการออกแบบเครื่องมือ และการจัดสภาพแวดล้อมการทำงานเป็นเรื่องที่สำคัญ ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการยศาสตร์ 1. สภาพแวดล้อมทั่วไป ได้แก่ เสียง แสง ความสั่นสะเทือน อุณหภูมิ อากาศ สารเคมี 2. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ เครื่องมือ โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องจักร 3.